การให้ความรู้ครูเกี่ยวกับโควิด-19
Covid-19

การให้ความรู้ครูเกี่ยวกับโควิด-19

การป้องกันการเจ็บป่วยที่ดีที่สุด คือไม่ไปสู่กิจกรรมเสี่ยง ไวรัสนี้ติดต่อผ่านคนสู่คน จึงไม่ควรอยู่ใกล้กันเกินกว่า 6 ฟุต หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดคนไอ ถ้าเผชิญคนไอให้ใส่หน้ากาก และล้างมือบ่อย ๆ ไม่นำมือมาที่หน้า จมูก และปาก เมื่อไม่สบาย และมีไข้...
Read More
การปลดล็อกดาวน์จากโควิด-19
Covid-19

การปลดล็อกดาวน์จากโควิด-19

การปลด lockdown จะเป็นการดำเนินการตามจังหวัด ซึ่งดูจากความพร้อมของแต่ละท้องถิ่นพิจารณาจากการเพิ่มขึ้นของผู้ป่วย ความพร้อมในการรองรับผู้ป่วย และทรัพยากรด้านการแพทย์ และแบ่งออกเป็น 3 ระดับ โดยการเสนอของกระทรวง สาธารณสุข คือ ระดับอ่อน ระดับกลาง และระดับสูง...
Read More
ภูมิคุ้มกันสังคมจากโควิด-19
Covid-19

ภูมิคุ้มกันสังคมจากโควิด-19

ทุกครั้งที่เกิดวิกฤตการณ์หนัก ๆ ไม่ว่าจะในระดับโลก หรือระดับประเทศ จะเกิดระเบียบใหม่ในสังคมขึ้นเสมอ เช่น ในปี 1989 การสิ้นสุดของสงครามเย็นก็ทำให้เกิดโลกาภิวัตน์ (Globalization) ซึ่งเป็นการที่ทุกคนสามารถเชื่อมต่อกับโลก ได้ทั้งเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ ข่าวสาร ฯลฯ...
Read More
วิกฤตการณ์ไวรัสโควิด-19
Covid-19

วิกฤตการณ์ไวรัสโควิด-19

ข้อมูลและความเป็นมา โควิด-19 มีหลากหลายสายพันธุ์ เคยพบเป็นต้นเหตุของไข้หวัดที่ไม่รุนแรงในสัตว์ เช่น สุนัข แมว หนู หมู นก ซึ่งจะก่อให้เกิดความผิดปกติของทางเดินหายใจ ระบบประสาท ตับ ลำไส้ของสัตว์เหล่านี้ สำหรับเชื้อที่พบในคน...
Read More
การตรวจหาเชื้อไวรัสก่อโรคโควิด-19
Covid-19

การตรวจหาเชื้อไวรัสก่อโรคโควิด-19

ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันมีคำถามมากมายเกี่ยวกับการตรวจหาเชื้อไวรัสก่อโรคโควิด-19 เนื่องจากกระแสสังคมส่วนใหญ่ต้องการชุดตรวจวิเคราะห์รวดเร็วหรือที่เรียกกันว่า “rapid test” กันอย่างมาก เพราะไม่สามารถเข้าถึงการตรวจหาเชื้อโดยวิธีการหาสารพันธุกรรมของเชื้อหรือที่เรียกว่าวิธี “RT-PCR” มาดูกันว่าการตรวจหาหาภูมิคุ้มกันในเลือดด้วย “วิธี rapid test”  กับการตรวจหาเชื้อด้วย “วิธี RT-PCR” แตกต่างกันอย่างไร...
Read More