ขณะที่ประเทศไทยกำลังอยู่กับเรื่องกฎหมายในการปลูกกัญชง และกัญชา แต่การพัฒนาและการศึกษาในโลกได้มีการพัฒนาก้าวข้ามไปไกลในด้านต่าง ๆ ทั้งการพัฒนาสายพันธุ์ และการหาสารประกอบภายในของพืชตระกูลกัญชา ซึ่งมีอย่างมากมาย นอกเหนือจาก CBD (Cannabidiol) ซึ่งไม่มีฤทธิ์ทางระบบประสาท แต่มีผลทางเภสัชวิทยาและการแพทย์สูง และ THC (Tetrahydrocannabinol)...
Read More
ยากับการนอนหลับ
ยานอนหลับ เป็นยาที่คนทั่วไปมักใช้เรียกกลุ่มยาที่ช่วยให้นอนหลับได้ง่ายขึ้น โดยไม่ทราบกลไก หรือประโยชน์ที่แท้จริงของยาเหล่านั้น และหลาย ๆ คนไม่ได้ต้องการรู้ถึงสาเหตุที่ทำให้ตนเองนอนไม่หลับ หรือแม้แต่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการนอน ที่ช่วยให้การนอนหลับนั้นง่ายขึ้น และมีคุณภาพ ปัจจุบันการจะใช้ยานอนหลับจะต้องได้รับการแนะนำจากแพทย์ เพราะยานอนหลับทุกประเภทล้วนมีความเสี่ยงในการใช้ จากงานวิจัยของ นพ. Daniel...
Read More
สิ่งที่ช่วยให้การนอนหลับได้ดีขึ้น
กลุ่มคนที่มีปัญหากับการนอนมักจะพยายามหาแนวทางในการช่วยเหลือให้ตนเองนอนหลับได้ง่าย รวมถึงการนอนหลับได้ดีขึ้น และรู้สึกสดชื่นเมื่อตื่นนอน หลาย ๆ คนพยายามพึ่งพาอาหาร วิตามิน อาหารเสริมต่่ง ๆ ที่ช่วยให้การหลับดีขึ้น เช่น เมลาโตนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนเพื่อช่วยให้หลับจากอาการ jet lag...
Read More
การนอนในแต่ละแบบของคน
การนอนให้เพียงพอเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของชีวิต การนอนหลับที่มีคุณภาพไม่ได้ขึ้นกับปริมาณหรือจำนวนชั่วโมง แต่ยังขึ้นกับช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเข้านอนอีกด้วย สำหรับกลุ่มคนที่เป็นพวกตื่นเช้า ควรที่จะเข้านอนระหว่างเวลา 22.00-23.00 น. เนื่องจากระบบนาฬิกาของร่างกาย จะสั่งให้สมองเริ่มหลั่งฮอร์โมน Melatonin ในช่วงเวลา 21.00-22.00 น. และไปสูงสุดในช่วงเวลา 2.00...
Read More
ฮอร์โมนกับการนอน
ฮอร์โมน เป็นสารที่ผลิตในร่างกายของเรา และส่งผ่านไปในระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ฮอร์โมนมีส่วนช่วยในการนอน บางชนิดอาจจะมีผลทำให้นอนไม่ค่อยหลับ เช่น ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับความตื่นเต้น ความเครียด และยังมีฮอร์โมนที่สัมพันธ์กับการนอน ซึ่งอาจมีส่วนหรือเป็นผลกระทบจากการนอน จึงขอนำมาเล่าให้ฟังพอสังเขป Melatonin ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ร่างกายสร้างขึ้นมาได้เอง...
Read More
การนอนเป็นยาที่ดีที่สุด
สัตว์โลกล้วนจำเป็นต้องนอนหลับพักผ่อน แม้แต่สัตว์ชั้นต่ำที่มีโครงสร้างร่างกายแบบพื้นฐาน เช่น ตัวไฮดรา และแมงกะพรุนที่ปราศจากสมอง ก็ยังมีภาวะคล้ายงีบหลับ จากการศึกษาสัตว์ไร้สมองที่โครงสร้างแทบไม่มีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ โดย Taichi Q. Itoh นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย Kyushu ของญี่ปุ่น ที่ถูกตีพิมพ์ในวารสาร...
Read More